ดูแบบคำตอบเดียว
  #4  
เก่า 11-01-2011, 12:52
สายท่าขนุน สายท่าขนุน is offline
สมาชิก VIP - ผู้ได้รับการปฏิบัติเป็นพิเศษ
 
วันที่สมัคร: Jan 2009
ข้อความ: 759
ได้ให้อนุโมทนา: 160,001
ได้รับอนุโมทนา 133,088 ครั้ง ใน 5,305 โพสต์
สายท่าขนุน is on a distinguished road
Wink

อ้างอิง:
ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ แผ่นดิน อ่านข้อความ
เพาเวอร์นิวส์ (ทับศัพท์หรือไม่คะ)
ซุปเปอร์แมน
chanakan


๒ ชื่อซ้ำกัน แต่ไม่แน่ใจว่าชื่อไหนตั้งก่อนกัน จึงเรียนมาเพื่อทราบ (ชื่อที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ถือว่าผิดกติกาหรือไม่คะ)

นิพพาน สุขัง
นิพพานสุขัง
นะ_โม
นะโม
กฤษณ (ควรมี สระอะ)
กฤษณ์
ครู-หญิง
ครูหญิง
จิต
จิตต์
โจม
โจม๗
โชคชัย
โชคชัย๑
โชค
โชค๙


กือนา
ขมจัง
ข้อยเอง
คนธรรม
โจ๊ก

มหาจักรพรรดิ (ไม่ทราบว่าเป็นของสูงหรือไม่)
กัสสปโพธิสัตว์
เจ้าหญิงโพธิสัตว์
นะโมพุทธายะ
บริจาริกโพธิสัตตา

เจ้าแห่งศาสตร์มืด
เทวดาหน้าโฉด
นางฟ้าหน้าโฉด
เทพอาถรรพ์
ควันบุหรี่
ไส้เดือนฝอย

ณชะเล
ณปากพนัง
ณบางไผ่


ดั้นเมฆา
ปรสุ
หฤษฎ์
ดาวร่วงทวงวิญญาณ
ติ๊ก
ตั๊บ

โป๊ะ
แผลเพียบ
ติติอุนิ
ธรรมธาร
นักศีกษาธรรม
นินจา
โมเม
สงบสว่างเย็นๆ ( ๆ ต้องเว้นวรรคหรือไม่)

~นินจากบ~
~ลม~หายใจ*

เครื่องหมาย ~,* ไม่ทราบว่าผิดกติกาหรือไม่

พอแค่นี้ก่อน วันหน้าค่อยมาช่วยดูต่อค่ะ (ตาลาย) ขอแจ้งให้ทราบว่า หากชื่อของสมาชิกท่านใดที่ตั้งขึ้นถูกต้องตามกฎของเว็บแล้ว ต้องขออภัยและอโหสิกรรมไว้ในที่นี้ด้วยค่ะ
ขอออกตัวก่อนว่า การมาทักท้วงครั้งนี้ มิได้ประสงค์จะแย้ง
แต่เนื่องจาก ได้เคยค้นหามาก่อน จึงมาแบ่งปันข้อมูล
สรุปว่า ที่ใส่สีชมพูไว้นั้น เห็นด้วยว่าควรเสนอให้เปลี่ยนชื่อ
สีม่วงนั้น ไม่แน่ใจว่าผิดกติกาหรือเปล่า
ส่วนที่เหลือ (ที่คงสีดำกับสีแดงไว้ตามเดิม) เข้าใจว่ามีความหมายและสะกดถูกแล้ว
โดยขอให้ข้อมูลประกอบ ดังต่อไปนี้

เข้าใจว่า เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์พิเศษ ไม่จัดว่าผิดกติกา
(แต่อาจทำให้มีปัญหาทางเทคนิค เช่น อาจเว้นวรรคหน้าไม้ยมกไม่ได้)

กฤษณ์ น่าจะแปลว่า สีดำ
จิต, จิต- [จิด, จิดตะ-] น. ใจ, สิ่งที่มีหน้าที่รู้ คิดและนึก, (โบ เขียนว่า จิตร), ลักษณนามว่า ดวง. (ป. จิตฺต).
จิตต-, จิตต์ [จิดตะ-] (แบบ) น. จิต. (ป.).
โจม ๑ น. สิ่งที่ตามปรกติมียอดเป็นลอมอย่างซุ้ม ใช้เป็นเครื่องกำบังแดดลม เป็นต้น;
กูบที่มีด้านเปิดโล่ง ๔ ด้าน; กระโจม ก็ว่า.
โจม ๒ ก. โถมเข้าไป, กระโดดเข้าไป, เช่น โจมจับ โจมฟัน.
กือนา เข้าใจว่า เป็นที่มาของคำว่า ล้านนา
จัง (ปาก) ว. ยิ่งนัก เช่น เก่งจัง ร้อนจัง ของสิ่งนี้ถูกจัง; เต็มที่, เต็มแรง, เช่น ชนกันเข้าอย่างจัง.
ข้อย (ถิ่น-พายัพ, อีสาน) ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
น. ข้า, บ่าว, เช่น เมื่อให้สูสองราชเป็นข้อยขาดแก่พราหมณ์. (ม. คําหลวง กุมาร).
คน ๑ น. มนุษย์.
คน ๒ ก. กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นกวนเพื่อทําสิ่งที่นอนก้นหรือที่เกาะกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นก้อนให้กระจายขยายตัว หรือกวนสิ่งต่าง ๆ ให้เข้ากัน.
ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ [ทํา, ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า;
หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น เป็นธรรมในสังคม;
กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. (ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
คนธรรพ-, คนธรรพ์ [คนทันพะ-, คนทับพะ-, คนทัน] น. ชาวสวรรค์พวกหนึ่ง เป็นบริวาร
ท้าวธตรฐ มีความชํานาญในวิชาดนตรีและขับร้อง. (ส. คนฺธรฺว; ป. คนฺธพฺพ).

โจ๊ก ๑ น. ข้าวต้มชนิดหนึ่งที่ใช้ปลายข้าวต้มจนเละ. (จ.).
โจ๊ก ๒ ว. มีนํ้ามากเกินส่วน (ใช้แก่นํ้าแกง) เช่น น้ำแกงใสโจ๊ก; เสียงดังอย่างเสียงนํ้าไหล.
โจ๊ก ๓ น. ไพ่ตัวพิเศษจะใช้แทนตัวไหนก็ได้ตามที่ต้องการ. (อ. joker).
โจ๊ก ๔ น. ตัวตลก. (อ. joker); เรื่องตลก. ว. ตลกขบขัน. (อ. joke).
ฝอย น. สิ่งที่เป็นเส้นเล็ก ๆ ละเอียด เช่น ฝอยขัดหม้อ, หรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ยาฝอย ฉีดนํ้าเป็นฝอย;
คําอธิบายวิธีใช้ยาหรือเวทมนตร์ต่าง ๆ; โดยปริยายหมายความว่าข้อความที่ไม่ใช่เนื้อหา. (ปาก) ก. พูดมากและเกินความจริง.
ชะเล ปากพนัง และ บางไผ่ เป็นชื่อสถานที่ ซึ่งสมาชิกคงจะหมายให้เป็น สถานที่นั้น ๆ
แต่อาจติดข้อจำกัดทางเทคนิคที่เว้นวรรคระหว่างคำไม่ได้
ดั้น ๑ ก. ฝ่าไป, มุดด้นไป.
ดั้น ๒ น. ชื่อโคลงและร่ายประเภทหนึ่ง เรียกว่า โคลงดั้น และ ร่ายดั้น.
เมฆ [เมก] น. ไอนํ้าที่รวมตัวกันเป็นกลุ่มก้อนลอยอยู่ในอากาศ. (ป., ส.).
เมฆคลุ้ม, เมฆมาก (อุตุ) น. ปริมาณเมฆมากกว่า ๗ ใน ๘ ในท้องฟ้า ซึ่งสามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า ใช้ในการพยากรณ์อากาศ.
เมฆา, เมฆินทร์, เมฆี (กลอน) น. เมฆ.
ปรศุ [ปะระสุ] น. ขวาน. (ส.; ป. ผรสุ).
ปร- [ปะระ-, ปอระ-] ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. (ป.).
สุ ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้นํ้าร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ.
สุ ๒, สุ ๆ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว แตงโมสุ ๆ.
สุ ๓ คําอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า ดี งาม ง่าย สําหรับเติมข้างหน้าคํา เช่น สุคนธ์. (ป., ส.).
หฤษฎ์ [หะริด] ว. น่าชื่นชม, ยินดี; สนุก, สบาย, ดีใจ. (ส. หฺฤษฺฏ; ป. หฏ?ฺ).
บริจารก [บอริจารก] น. คนใช้, คนบําเรอ. (ป., ส. ปริจารก).
บริจาริกา [บอริ-] น. หญิงรับใช้, ประกอบกับคํา บาท เป็น บาทบริจาริกา แปลว่า เมีย,
ที่ตัดใช้ว่า บริจา ก็มี เช่น บาทบริจา ทารบริจา อรรคบริจา, หรือตัดใช้ว่า บริจาริก ก็มี. (ป., ส. ปริจาริกา).
โป๊ะ ๑ น. ที่สำหรับดักปลาทะเล ทำด้วยเสาไม้จริงปักเป็นวง ใช้ไม้ไผ่ทำเป็นเฝือกกรุข้างใน มีประตูตรงกลาง ข้างประตูโป๊ะใช้เสาไม้จริงปักยาวเหยียดออกไปทั้ง ๒ ข้าง เพื่อกั้นปลาให้ว่ายเลียบเลาะมาเข้าโป๊ะ เรียกว่า ปีกโป๊ะ, ลักษณนามว่า ปาก หรือ ลูก; เรียกเรือสำหรับจับปลาในโป๊ะว่า เรือโป๊ะ; ทุ่นสำหรับเทียบเรือเพื่อขนถ่ายสินค้าหรือให้คนขึ้นลง; เครื่องครอบตะเกียงเพื่อบังลมหรือบังคับแสงไฟ.
โป๊ะ ๒ น. เรือโป๊ะจ้าย.
เพียบ ก. เกือบจม, เต็มแปล้, เช่น เรือบรรทุกสินค้าจนเพียบ รถบรรทุกของจนเพียบ, หนัก เช่น คนไข้อาการเพียบ.
ติติอุนิ เป็นพระคาถา ที่เรียกว่า หัวใจธรรมจักร
ธาร ๑ [ทาน] น. การทรงไว้, การรับไว้, การหนุน, มักใช้เป็นบทหลังสมาส เช่น จุฑาธาร. (ป., ส.).
ธาร ๒ [ทาน] น. นํ้า, ลําธาร, ห้วย, หยาดนํ้า, ท่อนํ้า. (ตัดมาจาก ธารา).
โมเม ก. ทึกทักเอา เช่น โมเมว่าเขาชอบตน, รวบรัดตัดความ เช่น โมเมสรุป. ว. ไม่สมเหตุสมผล.
__________________
การรักษากำลังใจสำคัญที่สุด...ได้ดีอย่าฟู แล้วขณะเดียวกันว่า ถ้าได้ร้ายก็อย่าฟุบ ให้เห็นว่ามันเป็นปกติของมัน เรื่องของมัน
ถ้ามันดีมาพออาศัยได้ก็ดีกับมันไป ถ้าหากว่ามันไม่ดีมา เราอยู่กับมันก็ให้รู้อยู่มีสติอยู่ ถึงเวลาก็ต่างคนต่างไปอยู่แล้ว...
กำลังใจของเราพลาดแม้แค่วินาทีเดียวนี่ อาจจะหมายถึงแพ้ทั้งกระดาน

อะไรมันก็ไม่เจ็บปวดเท่ากับต้องเกิดใหม่ มันเป็นทุกข์ เป็นโทษสุด ๆ จริง ๆ
กระโถนข้างธรรมาสน์ ฉบับที่ ๕๑

แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย สายท่าขนุน : 11-01-2011 เมื่อ 21:21
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความเดิม
สมาชิก 128 คน ได้กล่าว "อนุโมทนา" กับคุณ สายท่าขนุน ในข้อความที่เขียนด้านบน
แสดง/ซ่อน รายชื่อผู้อนุโมทนา