บทบูชาพระรัตนตรัย

   บาลี

อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา

พุทฺธํ ภควนฺตํ อภิวาเทมิ

สฺวากฺ ขาโต ภคว ตา ธมฺ โม

ธมฺมํ นมสฺ สามิ

สุปฏิปนฺ โน ภคว โต สาวกสงฺโฆ

สงฺฆํ นมา มิ

   อ่าน

อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะ คะวา

พุทธัง ภะ คะวันตัง อะภิ วาเทมิ (กราบ)

สะหวากขาโต ภะ คะวะตา ธัม โม

ธัมมัง นะมัส สามิ (กราบ)

สุ ปะฏิ ปันโน ภะ คะวะโต สาวะ กะสังโฆ

สังฆัง นะมามิ (กราบ)

     แปล

สมเด็จพระผู้มีพระภาคเป็นพระอรหันต์

หมดจดจากกิเลสเครื่องเศร้าหมอง

ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง

ข้าพเจ้าขออภิวาทพระพุทธเจ้าผู้มีพระภาค

: พระพธรรม อันพระผู้มีพระภาคตรัสดีแล้ว

ข้าพเจ้าขอนมัสการพระธรรม

: พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคปฏิบัติดีแล้ว

ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์

 

บทนมัสการพระพุทธเจ้า

นโม ตสสฺ ภคว โต

อรห โต สมฺมาสมฺพุทธสฺส

 

นโม ตสสฺ ภคว โต

อรห โต สมฺมาสมฺพุทธสฺส

 

นโม ตสสฺ ภคว โต

อรห โต สมฺมาสมฺพุทธสฺส

 

นะโม ตัส สะ ภะ คะวะโต

อะ ระหะโต สัมมา สัมพุทธัส สะ

( ทวน ๓ ครั้ง)

 

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น

ผู้เป็นอรหันต์ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง

 

 

บทพระพุทธคุณ

   บาลี

อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ

วิชฺ ชา จรณสมฺปนฺ โน สุค โต โลกวิทู

อนุตฺต โร ปุ ริสทมฺมสารถิ

สตฺ ถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ

  อ่าน

อิติปิ โส ภะ คะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ

วิชชาจะ ระณะสัม ปันโน สุคะโต โล กะวิทู

อนุต ตะโร ปุริ สะทัม มะ สาระถิ

สัตถาเทวะมะ นุสสานัง พุทโธ ภะ คะวาติ

   แปล

พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้แจกจ่ายธรรม

เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ดีโดยชอบด้วยพระองค์เอง

ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ(ความรู้และความประพฤติ)

เสด็จไปดี(คือไปที่ใดก็ยังประโยชน์ให้ที่นั้น) ทรงรู้แจ้งโลก

ทรงเป็นสารถีฝึกคนที่ควรฝึก หาผู้อื่นเปรียบมิได้

ทรงเป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย

ทรงเป็นผู้ตื่น ทรงเป็นผู้แจกจ่ายธรรม

 

 

บทพระธรรมคุณ

   บาลี

สฺวากฺ ขาโต ภคว ตา ธมฺ โม สนฺทิฏฺฐิ โก

อกา ลิโก เอหิปสฺ สิโก โอ ปนยิ โก ปจฺจตฺตํ

เวทิตพฺ โพ วิญฺญู หีติ

     อ่าน

สะหวากขาโต ภะ คะวะตา ธัม โม สัน ทิฏฺฐิ โก

อะ กาลิโก เอหิปัส สิโก โอปะ นะยิ โก ปัจจัต ตัง

เวทิตัพ โพ วิญญูหีติ

     แปล

พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสไว้ดีแล้ว

เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง

เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล

เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกะผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด

เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว

เป็นสิ่งที่ผู้รู้ก็รู้ได้เฉพาะตน ดังนี้...

 

  บท พระสังฆ คุณ

     บาลี

สุปฏิปนฺ โน ภคว โต สาวกสงฺโฆ

อุชุ ปฏิปนฺ โน ภคว โต สาวกสงฺโฆ

ญายปฏิปนฺ โน ภคว โต สาวกสงฺโฆ

สามี จิปฏิปนฺ โน ภคว โต สาวกสงฺโฆ

ยทิทํ จตฺ ตาริ ปุ ริส ยุคานิ อฏฺฐ ปุ ริสปุคฺ คลา

เอส ภคว โต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺ โย

ปาหุเนยฺ โย ทกฺขิเณยฺ โย อญฺ ชลีกรณีโย

อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺ สาติ

    อ่าน

สุ ปะฏิ ปันโน ภะ คะวะโต สาวะ กะสังโฆ

อุชุ ปะฏิ ปันโน ภะ คะวะโต สาวะ กะสังโฆ

ญา ยะ ปะฏิ ปันโน ภะ คะวะโต สาวะ กะสังโฆ

สามีจิ ปะฏิ ปันโน ภะ คะวะโต สาวะ กะสังโฆ

ยะทิ ทัง จัต ตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุ คคะ ลา

เอสะ ภะ คะวะโต สาวะ กะสังโฆ อาหุ เนยโย

ปาหุ เนยโย ทักขิเณย โย อัญ ชะลีกะ ระณี โย

อนุต ตะรัง ปุญญัก เขตตัง โลกัส สาติ

    แปล

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติตรงแล้ว

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว

สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติสมควรแล้ว

ได้แก่บุคคลเหล่านี้ คือ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุรุษได้ ๘ บุรุษ

นั้นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า

เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา

เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขาจัดไว้ต้อนรับ

เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน

เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี

เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีเนื้อนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้.

 

บทชยสิทธิคาถา

    บาลี

พาหํ สหสฺสมภินิมฺมิตสาวุธนฺตํ คฺ รี เมขลํ

อุทิต โฆ รสเสน มารํ ทา นาทิธมฺมวธิ นา ชิตฺ วา

มุนินฺ โท ตนฺ เตชสา ภวตุ เต ชย สิทฺธิ นิจฺจํ

  อ่าน

พาหุง สะหัสสะ มะภิ นิ มมิ ตะ สาวุธัน ตัง ครีเมขะ ลัง

อุทิตะโฆ ระสะเสนะมารัง ทา นาทิ ธัมมะ วะธิ นา ชิตะวา

มุนิน โท ตันเตชะสา ภะ วะตุ เต ชะยะสิทธิ นิจจัง

   แปล

สมเด็จพระผู้มีพระภาค ผู้เป็นจอมของนักปราชญ์

ทรงชนะพญามารพร้อมด้วยเสนา ซึ่งเนรมิตแขนได้ตั้งพัน

มีมือถืออาวุธครบทั้งพันมือ ขี่ช้างคีรี เมขล์ ส่งเสียงสนั่นน่ากลัว

ด้วยธรรมวิธีทานบารมีเป็นต้น และด้วยเดชาของพระผู้มีพระภาค

พระองค์นั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน

 

คำอธิษฐานจิตเวลาทำบุญ

" สุ ทินนัง วะตะ เม ทานัง อาสะ วักขยาวะหัง โห ตุ "

 

ขอให้ทาน ที่ข้าพเจ้าถวายดีแล้วนี้ จงเป็นเหตุ ให้ข้าพเจ้า หมดความเศร้าหมองใจเถิด  

 

คำถวาย   ธูป   เทียน   ดอกไม้    

" อิ มานิ มะยัง ภัน เต ธู ปะทีปะ บุปผะว รานิ ระ ตะนัตถายัส เสวะ อภิปูชยามะอัมหากังระตะ

นัต ตะ ยัส สะ หิ ตะสุขาวะหา โห ตุ อาสะ วักขะยัป ปัตติยา "

 

ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาด้วย ธูปเทียน และ มีเทียนจำนำพรรษาเป็นต้น และ ดอกไม้

ทั้งหลาย อันประเสริฐนี้ แก่พระรัตนตรัย ก็กิริยาที่บูชาพระรัตนตรัยนี้ จงเป็นผล นำมาซึ่ง

ประโยชน์ และ ความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ตลอดกาลนานและเพื่อให้ถึงซึ่ง พระนิพพาน

อันเป็นที่สิ้นไปแห่ง อาสว กิเลส เทอญ  

 

  คำถวายเงินทำบุญ     ( ตั้งนะโมสามจบ )  

" สุทินฺนํ วต เม ทานํ อาสวกฺขยาวหํ นิพฺพานปัจฺจ โย โห ตุ ฯ "

 

ขอให้ทาน ของข้าพเจ้า อันให้ดีแล้วหนอ จงนำมาซึ่ง ความสิ้นไป

แห่ง อาสว กิเลส จงเป็นปัจจัยแก่ พระนิพพาน ฯ  

 

คำอธิษฐาน เมื่อจบของต่าง ๆ ถวายพระ  

" สุ ทินนัง วะตะ เม ทานัง อาสะ วักขะ ยา วะหัง โห ตุ ฯ "

 

ทานของเราให้ดีแล้วหนอ ขอจงเป็นเครื่อง นำมาซึ่งความสิ้นไป แห่งอาสวะกิเลส  

 

คำถวายข้าวพระพุทธ

" อิมัง สูปะพ ยัญชะ นะสัมปันนัง สาลีนัง โภชะนัง อุทะกัง วะรัง พุทธัส สะ ปูเช มิ ฯ "

 

ข้าพเจ้าขอบูชาด้วยโภชนะข้าวสาลี พร้อมด้วยแกงกับ และ น้ำอันประเสริฐนี้แด่พระพุทธเจ้า  

 

 

คาถาพระปัจเจก โพธิ เจ้า (คาถาเงินล้าน)

หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค จ.อยุธยา

เพื่อให้เกิดอานุภาพ ยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนา    ค า ถ า พระปัจเจก โพธิ เจ้า    ตั้งนะโม 3 จบ แล้ว ระลึกบูชา ดังนี้.

    สัมปจิตฉามิ      นาสัง สิโม

   พรหมมา จะมหาเทวา สัพเพยักขา ปะรา ยันติ

   พรหมมา จะมหาเทวา อภิลาภา ภวัน ตุเม

   มหา ปุณ โย มหา ลาโภ ภวัน ตุเม มิเต พาหุห ติ

   พุทธะ มะอะ อุ นะโม พุทธา ยะ

   วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี

   วิระทาสา วิระอิทธิโย พุทธัส สะ มานีมามะ

   พุทธัส สะ สวาโหม สัมปติจฉา มิ

   เพ็ง เพ็ง    พา พา    หา หา    ฤๅ ฤๅ  

 

พระคาถาบูชาพระสีวลี

สีวะลี จะ มะ หาเถ โร เทวะตานะระปูชิโต โสระโห ปัจ จะยา ทิม หิ

สีวะลี จะ มะ หาเถ โร ยักขา เท วาภิ ปูชิโต โสระโห ปัจ จะยา ทิม หิ อะหัง วันทามิ ตัง สะทา

สีวะลี เถ รัสสะ เอตัง คุณัง โสตถิ สวัสดิ ลา ภัล ภะ วันตุ เม

 

 

พระคาถาเสริมทรัพย์

พุทธะ มะอะ อุ นะโม พุทธา ยะ

วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิ โย พุทธัส สะ มาณี มามะ พุทธัส สะ สะวาโหม

 

 

พระคาถามหาลาภ

นะมามีมา มะหาลาภา อิ ติ พุทธัส สะ สุ วัณณัง วา ระชะตังวา มะณี วา ธะนัง วา พีชังวา อัต ถังวา ปัต ถังวา เอหิ เอหิ อาคัจ เฉยยะ อิ ติมีมา นะมามิ หัง

 

พระคาถาพระเจ้าชนะมาร

ปัญ จะ มาเร ชิโนนาโถ ปัต โต สัมโพธิมุตตะ มัง จะตุสัจจัง ปะกาเสสิ ธัมมะจักกัง ปะวัต ตะยิ เอเตนะ สัจจะ วัชเช นะ โห ตุ เม ชะ ยะมัง คะลัง

 

พระคาถาพระปิยมหาราช

พระสยามมิ นทร์โธ วะ โรอิ ติ พุทธะ สัง มิ อิติอะระหัง สะหัส สะกา ยัง วะรัง พุทโธ นะโม พุทธา ยะ อิติปิ โส วิเส เสอิ อิ เสเส พุทธะนา เมอิ อิ เมนา พุทธะ ตังโสอิ อิโส ตัง พุทธะปิติอิ ปิ ยะ มะมะ นะโม พุทธา ยะ ปิ ยะ มะมะ นะโม พุทธา ยะ ปิ ยะมะมะ นะโม พุทธา ยะ

 

พระคาถาเมตตามหานิยมและปลอดภัย

เมตตา คุณ ณัง อะระหัง เมตตา

เมตตัญ จะ สัพพะโล กัสมิง มานะ สัม ภาวะเย อัปปะริ มาณัง

 

 

พระคาถาหลวงปู่โอภาสี

อิ ติสุคะโต อะระหังพุทโธ นะโม พุทธา ยะ ปะฐะ วีคงคา พระภุมมะเทวา ขะ มามิ หัง